<
 
 
 
 
×
>
You are viewing an archived web page, collected at the request of United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO) using Archive-It. This page was captured on 15:11:36 Jun 12, 2017, and is part of the UNESCO collection. The information on this web page may be out of date. See All versions of this archived page.
Loading media information hide

Curriculum Development for Thai Cultural Heritage Site Conservators

Curriculum Development for Thai Cultural Heritage Site Conservators

การสัมมนาถกแถลงเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำหลักสูตรด้านการอนุรักษ์โบราณสถานสำหรับผู้ทำงานอนุรักษ์

2-5 และ 16-18 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรม คาวาลิ คาซ่า รีสอร์ท จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

 กำหนดการ
 ทำเนียบผู้ร่วมสัมมนาถกแถลง รุ่นที่ 1
เนื้อหาการบรรยาย
  1. แผนแม่บทโครงการอนุรักษ์และพัฒนานครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา โดยอธิบดี อนันต์ ชูโชติ  [Video]
  2. สรุปข้อเสนอแนะจากการประชุมวิชาการนานาชาติ โดยคุณสิริกิติยา เจนเซ่น  [Video]

หมวดความรู้ที่ 1: การระบุคุณค่าของโบราณสถานเพื่อการอนุรักษ์ที่ตรงประเด็น

  1. ความหมายของโบราณสถานและการอนุรักษ์บนพื้นฐานของคุณค่า (Value-based Approach to Heritage Conservation) โดย ดร. ยงธนิศร์ พิมลเสถียร  [Video / Presentation]

  2. กรณีศึกษาจากโครงการอนุรักษ์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดย ดร. ยงธนิศร์ พิมลเสถียร  [Video / Presentation]

  3. กรณีศึกษาต่างประเทศ โดย มณฑิรา อูนากูล [Video / Presentation]

  4. แนวทางการอนุรักษ์โบราณสถานของไทย จากระเบียบกรมศิลปากร พ.ศ.๒๕๒๘ ถึงกฎบัตรประเทศไทยว่าด้วยการบริหารจัดการแหล่งมรดกวัฒนธรรม โดย ดร. วสุ โปษยะนันทน์ [Video / Presentation]

  5. เกริ่นนำ: การพัฒนาคำแถลงความสำคัญ (Statement of Significance) และการระบุสิ่งบ่งชี้คุณค่า (attributes) โดย มณฑิรา อูนากูล [Video / Presentation]

  6. แนะนำแหล่งกรณีศึกษาวัดภูเขาทอง โดย ประทีป เพ็งตะโก ภัทราวดี ดีสมโชค ทรงยศ วงศ์ประพฤติดี และธนภูมิ อัตตฤทธิ์  [Presentation]

  7. การพิสูจน์คุณค่าทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีและสถาปัตยกรรม (รูปแบบ) ของโบราณสถาน: ขั้นตอนการบันทึกและวิเคราะห์หลักฐาน โดย ศ. ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์  [Video / Presentation]

  8. การพิสูจน์คุณค่าทางสังคม และประเด็นต่างๆและวิธีการเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในระดับการตัดสินใจอนุรักษ์แหล่งโบราณสถาน โดย ดร. ยงธนิศร์ พิมลเสถียร  [Video / Presentation]

หมวดความรู้ที่ 2: การตรวจสอบสภาพก่อนการอนุรักษ์

  1. อภิธานภาพ (Visual Glossaries): การสังเกตลักษณะการเสื่อมสภาพของวัสดุก่อสร้างประวัติศาสตร์

    1. มนัชญา วาจก์วิศุทธิ์  [Video / Presentation]

    2. อลงกรณ์ แสงนิกร  [Video / Presentation]

    3. อภิชาติ สุวรรณ  [Video / Presentation]

  2. กระบวนการวิเคราะห์วัสดุประวัติศาสตร์ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์สำหรับงานอนุรักษ์ โดย ดร. นวลลักษณ์ วัสสันตชาติ  [Video / Presentation]

  3. การตรวจสอบสภาพของโบราณสถาน: ตัวอย่างขั้นตอนและวิธีการทำแผนผังบริเวณเสื่อมสภาพจากโครงการอนุรักษ์เมืองพุกามโดยองค์การยูเนสโก โดย มณฑิรา อูนากูล  [Value, S-Card, D-Card]

หมวดความรู้ที่ 3: การวางแผนอนุรักษ์และการตัดสินใจ

  1. เกริ่นนำ: การตัดสินใจดำเนินการอนุรักษ์เพื่อรักษาคุณค่าและแก้ไขที่เหตุของความเสื่อมสภาพ โดย ดร. วสุ โปษยะนันทน์  [Video / Presentation / Form]

  2. หลักการปฏิบัติในการใช้วัสดุและเทคนิคดั้งเดิม: กรณีศึกษาต่างประเทศ โดย ดร. นวลลักษณ์ วัสสันตชาติ   [Video / Presentation]

  3. หลักการปฏิบัติในการใช้วัสดุและเทคนิคดั้งเดิม: กรณีศึกษาในประเทศ โดย มนัชญา วาจก์วิศุทธิ์   [Video / Presentation]

  4. หลักการปฏิบัติด้านภูมิสถาปัตยกรรมในงานอนุรักษ์โบราณสถาน: บทบาทนอกเหนือจากการปรับปรุงภูมิทัศน์

    1. วโรภาส วงศ์จตุรภัทร  [Video]

    2. ดร. พรธรรม ธรรมวิมล  [Video / Presentation]

  5. หลักการปฏิบัติทางวิศวกรรมในงานอนุรักษ์โบราณสถาน

    1. ดร. นคร ภู่วโรดม  [Video / Presentation]

    2. กิตติพันธ์ พานสุวรรณ  [Video]

  6. แผนอนุรักษ์ [Videos: กลุ่มA -- กลุ่มB -- กลุ่มC -- กลุ่มD]

หมวดความรู้ที่ 4: วัสดุศาสตร์และการอนุรักษ์วัสดุดั้งเดิม

  1. อิฐโบราณ: วิธีการศึกษาวิจัยและการนำผลมาใช้ประโยชน์

    1. มนัชญา วาจก์วิศุทธิ์ [Video / Presentation]

    2. อิฐเก่าเล่าเรื่อง โดย พเยาว์ เข็มนาค [Video / Presentation / Paper]

  2. ปูนโบราณ: วิธีการศึกษาวิจัยและการนำผลมาใช้ประโยชน์

    1. มุมมองทางวิทยาศาสตร์ด้านคุณสมบัติของปูน โดย ดร. นวลลักษณ์ วัสสันตชาติ [Video / Presentation1 / Presentation2]

    2. กรณีศึกษาการใช้งานจริงจากการวิจัยปูนโบราณภาคเหนือ โดย สราวุธ รูปิน [Video / Presentation]

  3. การดูแลรักษา: การทำความสะอาดพื้นผิวเดิมของอิฐ ปูนก่อ/ฉาบ และปูนปั้น

    1. เสน่ห์ มหาผล  [Video / Presentation1 / Presentation2]

    2. โสภิต ปัญญาขัน  [Presentation]

  4. เล่าประสบการณ์การทำงานที่วัดราชบูรณะกับทีมเยอรมัน และที่วัดไชยวัฒนารามกับทีม WMF: ความแตกต่างในวิธีการทำงานและสิ่งที่น่านำมาปฏิบัติ โดย ช่างช้อย ช่างมาลี ช่างเจต และคุณทรงยศ วงศ์ประพฤติดี (สัมภาษณ์โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล) [Video]

  5. ปูนปั้นเพื่องานอนุรักษ์

    1. จุมภฏ ตรัสศิริ  [Video]

    2. สมัคร ทองสันต์ [Video / Presentation]

    3. ผสม นาระต๊ะ  [Video / Presentation]

หมวดความรู้ที่ 5: มาตรฐานกระบวนการทำงานอนุรักษ์

  1. รายงานผลการสำรวจสถานการณ์การทำงานของช่างปูนที่บูรณะโบราณสถานในอยุธยา โดย ดร. ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล [Video / Presentation]

  2. เกริ่นนำ SWOT Analysis: มาตรฐานกระบวนการทำงานของกรมศิลปากร โดย กิตติพันธ์ พานสุวรรณ [Video / Presentation]

  3. ผลการอภิปรายร่วมเรื่อง SWOT Analysis: มาตรฐานกระบวนการทำงานของกรมศิลปากร

หมวดความรู้ที่ 6: การพัฒนาทางวิชาชีพ

28. การสร้างหลักสูตรพัฒนาฝีมือช่างอิฐ-ปูนในงานอนุรักษ์โบราณสถาน [Videos: กลุ่มA -- กลุ่มB -- กลุ่มC -- กลุ่มD -- กลุ่มE -- สรุป]

29. ข้อเสนอแนะจากผู้สัมมนา

Event
-
File attachment